กิ้งก่าแผงคอ (อังกฤษ: Frill-necked lizard, Frilled lizard, Frilled dragon)
เป็นสัตว์เลื้อยคลานประเภทกิ้งก่าชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydosaurus
kingiiเป็นกิ้งก่าเพียงชนิดเดียวในสกุล Chlamydosaurus
กิ้งก่าแผงคอ มีรูปร่างเหมือนกิ้งก่าทั่วไป
สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลเขียว หรือสามารถปรัปแปลี่ยนสีให้เข้ากับสถาพแวดล้อมเพื่อ
มีจุดเด่นก็คือ มีแผงคอที่สามารถแผ่ออกได้กว้างครอบหัวเวลาตกใจ หรือขู่ศัตรู ทำให้ศตรูตกใจไม่กล้าเข้าใกล้
อีกทั้งยังสามารถวิ่งได้ด้วยขาหลังเพียง 2 ขาด้วยความเร็ว เมื่อหนีศัตรู
มีนิ้วทั้งหมด 5 นิ้ว มีเล็บแหลมคม หางเรียวยาว
โดยปกติจะอาศัยและหากินอยู่ตามต้นไม้
กิ้งก่าแผงคอ มีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร
โตเต็มที่ในธรรมชาติ 35 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อยู่ในทะเลทรายทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย, ปาปัวนิวกินีกินแมลง และสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ
เป็นอาหาร
การปรับตัว
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1. การปรับตัวแบบชั่วคราว เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปชั่วคราว และเกิดในระยะเวลาสั้น สามารถเปลี่ยนกลับมาเหมือนเดิมได้ การปรับตัวแบบนี้พบได้ทั้งในพืชและในสัตว์ เช่น ต้นไม้ที่อยู่ใต้ชายคาจะเลี้ยวเอียงลำต้นเบนออกไปให้พ้นชายคาเพื่อหาแสงแดด หรือพืชที่ปลูกกลางแจ้งจะเป็นพุ่มสวยงาม , การเปลี่ยนสีตามสิ่งแวดล้อมของจิ้งจก เขียด และแมลงต่างๆ , การพรางตัวในการหาเหยื่อ หรือลวงศัต
การปรับตัวของสิ่งมีชีวิต จำแนกได้ 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1. การปรับตัวแบบชั่วคราว เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะไปชั่วคราว และเกิดในระยะเวลาสั้น สามารถเปลี่ยนกลับมาเหมือนเดิมได้ การปรับตัวแบบนี้พบได้ทั้งในพืชและในสัตว์ เช่น ต้นไม้ที่อยู่ใต้ชายคาจะเลี้ยวเอียงลำต้นเบนออกไปให้พ้นชายคาเพื่อหาแสงแดด หรือพืชที่ปลูกกลางแจ้งจะเป็นพุ่มสวยงาม , การเปลี่ยนสีตามสิ่งแวดล้อมของจิ้งจก เขียด และแมลงต่างๆ , การพรางตัวในการหาเหยื่อ หรือลวงศัต
2. การปรับตัวแบบถาวร เป็นการปรับตัวที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในที่มองไม่เห็น
โดยมีการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมจากบรรพบุรุษไปยังลูกหลาน
ทำให้สิ่งชีวิตปรับตัวอยู่รอดได้ และดำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้ พบทั้งในพืชและในสัตว์รูของกิ้งก่า
กบ เขียด และแมลง , การจำศีลหรืออยู่นิ่งๆในฤดูหนาวหรือร้อน
เป็นต้น
ภาพยนตร์ต่าง ๆ ด้วย เช่น กิ้งก่ากายสิทธิ์ ในภาพยนตร์ไทยเรื่อง กิ้งก่ากายสิทธิ์ เมื่อปี พ.ศ. 2528
จากการสร้างสรรค์
ของ สมโพธิ แสงเดือนฉายหรือ ไดโนเสาร์ชนิด ไดโลโฟซอรัส (Dilophosaurus) ในเรื่อง Jurassic Park เมื่อปี พ.ศ. 2536 ที่สามารถแผ่แผงคอและพ่นพิษได้ใส่เหยื่อ
รวมทั้งเป็นหนึ่งในแมสคอทประจำการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิก 2000 ที่จัดภายหลังโอลิมปิก 2000 ที่ออสเตรเลียด้วย โดยแมสคอทตัวนี้มีชื่อว่า "ลิซซี่" (Lizzie)
0 Comments
แสดงความคิดเห็น